News
รายชื่อห้องปฏิบัติการที่ส่งคำตอบ รอบที่ 1/2567
✅ ภายในวันที่ 31 มีนาคม 2567
กลุ่มงานพยาธิวิทยา โรงพยาบาลตากสิน
กลุ่มงานพยาธิวิทยา โรงพยาบาลนครพิงค์
กลุ่มงานพยาธิวิทยา โรงพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี
กลุ่มงานพยาธิวิทยา โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
กลุ่มงานพยาธิวิทยา โรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้า
กลุ่มงานพยาธิวิทยา โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์
กลุ่มงานพยาธิวิทยา โรงพยาบาลสุรินทร์
กลุ่มงานพยาธิวิทยากายวิภาค รพ.ลำปาง
กลุ่มงานพยาธิวิทยากายวิภาค โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
กลุ่มงานพยาธิวิทยากายวิภาค โรงพยาบาลชัยภูมิ
กลุ่มงานพยาธิวิทยากายวิภาค โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์
กลุ่มงานพยาธิวิทยากายวิภาค โรงพยาบาลบุรีรัมย์
กลุ่มงานพยาธิวิทยากายวิภาค โรงพยาบาลพังงา
กลุ่มงานพยาธิวิทยากายวิภาค โรงพยาบาลพัทลุง
กลุ่มงานพยาธิวิทยากายวิภาค โรงพยาบาลพุทธชินราชพิษณุโลก
กลุ่มงานพยาธิวิทยากายวิภาค โรงพยาบาลพุทธโสธร
กลุ่มงานพยาธิวิทยากายวิภาค โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
กลุ่มงานพยาธิวิทยากายวิภาค โรงพยาบาลเมืองสงขลา
กลุ่มงานพยาธิวิทยากายวิภาค โรงพยาบาลราชวิถี
กลุ่มงานพยาธิวิทยากายวิภาค โรงพยาบาลสระบุรี
กลุ่มงานพยาธิวิทยากายวิภาค โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี
กลุ่มงานพยาธิวิทยากายวิภาค โรงพยาบาลหาดใหญ่
กลุ่มงานพยาธิวิทยากายวิภาค โรงพยาบาลอุดรธานี
กลุ่มงานพยาธิวิทยากายวิภาค สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
กองพยาธิวิทยา สถาบันพยาธิวิทยา ศูนย์อำนวยการแพทย์พระมงกุฎเกล้าฯ
คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
คลินิกสวนดอกพยาธิ
บริษัท กรุงเทพ พยาธิ-แลป จำกัด
บริษัท กรุงเทพอาร์ไอเอแล็บ จำกัด
บริษัท ขอนแก่นพยาธิแลบ จำกัด
บริษัท จีโนมโมเลกุล แลบบอราตอรี จำกัด
บริษัท โปรเฟสชั่นแนล ลาบราทอรี่ แมเนจเม้นท์ คอร์ป จำกัด
บริษัท พาโทโลจี ไดแอกโนสติก เซ็นเตอร์ จำกัด
บริษัท เมดิคอลไดแอ็กนอสติกแลบบอราทอรี่ จำกัด
บริษัท เศรษฐศิลป์ จำกัด
บริษัท อินโนเทค ลาบอราทอรี่ เซอร์วิส จำกัด
บริษัท อุบลพยาธิแลบ จำกัด
บริษัท เอ็กเซลเล้นท์ พาโธโลยิคัล แล็ป จำกัด
บริษัท เอเชียแล็บบอราทอรี่เซ็นเตอร์ จำกัด
บริษัท เอ็น เฮลท์ พยาธิวิทยา จำกัด สาขา โรงพยาบาลดีบุก
บริษัท เอ็น เฮลท์ พยาธิวิทยา จำกัด สาขาหาดใหญ่
บริษัท เอ็น เฮลท์ พยาธิวิทยา จำกัด สำนักงานใหญ่
บริษัท เอ็น เฮลท์ พยาธิวิทยา สาขา โรงพยาบาลพญาไท 2
บริษัท เอ็น เฮลท์ พยาธิวิทยา สาขา โรงพยาบาลมะเร็งชีวามิตรา
บริษัท เอ็น เฮลท์ พยาธิวิทยา สาขาเชียงใหม่
บริษัท เอ็น เฮลท์ สหคลินิก นนทบุรี
บริษัท เอ็มดีที แล็บบอราทอรี จำกัด
บริษัท เอส.บี.แล็บ จำกัด
บริษัท ไฮเทค แล็ป จำกัด
แผนกพยาธิวิทยา โรงพยาบาลชลบุรี
พยาธิวิทยากายวิภาค กลุ่มงานพยาธิวิทยา โรงพยาบาลตำรวจ
พยาธิวิทยากายวิภาค รพ.ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพฯ มศว
ภาควิชาพยาธิวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ภาควิชาพยาธิวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ภาควิชาพยาธิวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ภาควิชาพยาธิวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
ภาควิชาพยาธิวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ภาควิชาพยาธิวิทยา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
ภาควิชาพยาธิวิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช กรมแพทย์ทหารอากาศ
โรงพยาบาลเมดพาร์ค
โรงพยาบาลสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์
โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชท่าบ่อ
ศูนย์พยาธิวิทยาพิษณุโลก เอ็น.บี.
ศูนย์พยาธิวิทยาและวิจัยอินเตอร์แล็บ
สถาบันพยาธิวิทยา กรมการแพทย์
สถาบันโรคทรวงอก
สหคลินิก บางกอก เชน แลบอราทอรี่ และพยาธิวิทยา
สาขาพยาธิวิทยา รพ.ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
หน่วยพยาธิวิทยากายวิภาค รพ.รามาธิบดีจักรีนฤบดินทร์
ห้องปฏิบัติการพยาธิวิทยา โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ห้างหุ้นส่วนจำกัด วีอาร์พาโทโลยี แล็บ
⚠️ หลังวันที่ 31 มีนาคม 2567 (ล่าช้ากว่ากำหนด)
โรงพยาบาลสุทธาเวช คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
บริษัท เอ็มดีที แล็บ นอร์ทอีส จำกัด
กลุ่มงานพยาธิวิทยากายวิภาค โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์
** ห้องปฏิบัติการที่ส่งคำตอบมามากกว่าหนึ่งครั้ง ทาง EQA จะใช้คำตอบที่ส่งมาล่าสุดเพื่อคิดคะแนน **
ข่าวสารถึงห้องปฏิบัติการพยาธิวิทยา
ทางคณะกรรมการขอขอบคุณพยาธิแพทย์และห้องปฏิบัติการที่เข้าร่วมโครงการครั้งนี้เป็นอย่างสูง ทางคณะกรรมการสมาคมฯและอนุกรรมการที่ทำงานเกี่ยวกับ EQA จะพัฒนางานนี้ให้ดียิ่งๆขึ้นไป และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าโครงการนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนางานด้านพยาธิวิทยาในประเทศไทย
คณะกรรมการสมาคม IAP-Thailand ร่วมกับราชวิทยาลัยพยาธิแพทย์แห่งประเทศไทย ได้ดำเนินการออกใบประกาศณียบัตรให้กับสถาบันที่ผ่านเข้าร่วมโครงการ EQA เป็นที่เรียบร้อยแล้ว หากสถาบันใดที่ผ่านการเข้าร่วมแต่ยังไม่ได้รับเอกสาร โปรด ติดต่อสมาคมฯ ตามวันเวลาราชการ
ดาวน์โหลดซอฟแวร์ดูสไลด์ดิจิตัลได้ฟรี
Leica-Aperio ImageScope (PC only)
** สำหรับผู้ใช้งานระบบปฏิบัติการ Mac OS หรือ iPadOS สามารถดูสไลด์ได้ด้วย Leica Web Viewer ผ่าน web browser**
รูปแบบการให้คะแนนและจัดอันดับ
ทางอนุกรรมการทำงาน EQA ได้กำหนดเกณฑ์การให้คะแนนคำตอบ (scoring) และจัดอันดับ (ranking) เป็นส่วนหนึ่งในการประเมินคุณภาพการวินิจฉัยฯ ของห้องปฏิบัติการ โดยเริ่มตั้งแต่รอบ 1/2564 เป็นต้นไป ทั้งนี้เพื่อเป็นการควบคุมและกระตุ้นให้ห้องปฏิบัติการรักษาคุณภาพของตัวเองให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานอย่างต่อเนื่อง โดยมีรายละเอียดดังนี้
การให้คะแนนจะทำในส่วนของการวินิจฉัยหลัก (primary diagnosis) องค์ประกอบอื่น เช่น margin status, LVI, และ requsted IHC จะไม่นำมาคิดคะแนน
คะแนนในแต่ละข้อมีได้ 3 ตัวแปร คือ 0, 1, และ 2 (รวม 10 ข้อเท่ากับ 20 คะแนน)
2 คือคำตอบที่ถูกต้องและจำเพาะกับการวินิจฉัยโรคมากที่สุด
0 คือคำตอบที่ผิดไปจากการวินิจฉัยโรคมากที่สุด
1 ป็นคำตอบที่ใกล้เคียงการวินิจฉัยโรค
ตัวอย่าง
การวินิจฉัยโรค (เฉลย) คือ Follicular-variant papillary thyroid carcinoma
ถ้าคำตอบที่ส่งมาคือ
Papillary carcinoma จะได้ 2 คะแนน
Follicular carcinoma จะได้ 1 คะแนน
Nodular goiter และ adenoma จะได้ 0 คะแนน
หมายเหตุ
หลีกเลี่ยงการให้คำตอบแบบการวินิจฉัยแยกโรค (differential diagnosis) เนื่องจากมีโอกาสที่จะไม่ได้คะแนนเต็มในข้อนั้นค่อนข้างสูง
การจัดอันดับหรือ ranking จะไม่มีการเปิดเผยชื่อห้องปฏิบัติการต่อสาธารณชน
รูปก่อนแก้ไข
รูปหลังแก้ไข
วิธีปรับแต่งสีสไลด์ดิจิตัล
ผู้ใช้งานโปรแกรม ImageScope บางคนอาจเจอปัญหาภาพสไลด์ที่แสดงออกมาติดสีเข้มและดูหนาเกินไป วิธีแก้ไขแบบง่ายๆและรวดเร็ว คือให้กดปุ่มเฉดสีรุ้งที่แถบเครื่องมือด้านขวาบน โปรแกรมจะปรับการแสดงผลของภาพสไลด์ให้ออกมาเป็นโทนสีที่พยาธิแพทย์คุ้นเคย
ในกรณีที่ต้องการปรับโทนสี ความคมชัด หรือ ความสว่าง เพิ่มเติม ให้เข้าไปที่เมนูคำสั่งแล้วเลือก image adjustment
สไลด์จากผู้เข้าร่วมโครงการ
ผู้เข้าร่วมโครงการฯสามารถมีส่วนร่วมในการนำเสนอสไลด์ที่น่าสนใจหรือเพื่อนำไปใช้เป็นสไลด์ประเมินคุณภาพฯในครั้งต่อไปได้ โดยจัดส่งสไลด์และข้อมูลเคสประกอบมายัง ทีมงาน EQA